วันจันทร์ที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2560

ข้อสอบบทที่5

ข้อสอบบทที่5
      1. หมายเลข  1  แทนตัวใดในเลขโรมัน 
       
      ก.  I 

       
      ข.  V
       
      ค.  X
       
      ง.  C

      2. ถนนพระราม 2  ตรงกับตัวเลขโรมันในข้อใด
       
      ก.  ถนนพระราม I
       
      ข.  ถนนพระราม  II
       
      ค.  ถนนพระราม III
       
      ง.  ถนนพระราม IV 
      3. " V "  ตรงกับหมายเลขในข้อใด
       
      ก.  9
       
      ข.  7
       
      ค.  5
       
      ง.  4

      4. "1 + 2"  เท่ากับเท่าใด
       
      ก.  I
       
      ข.  II
       
      ค.  III
       
      ง.  IV 

      5. ในตอนกลางวันถ้านาฬิกาเข็มยาวชี้ที่  II   เข็มสั้นที่  VI  คือเวลาใด
       ก.  12.30 น.
       ข.  14.30 น.

       ค.  11.50 น.
       ง.  15.30 น. 

      6. ในตอนกลางคืนถ้านาฬิกาเข็มยาวชี้ที่  IX  เข็มสั้นชี้ที่  V  คือเวลาใด
       ก.  21.25 น.
       ข.  22.25 น.
       ค.  23.25 น.
       ง.  24.25 น. 

      7. "V – I"  เท่ากับเท่าใด ก.  2 ข.  3
       ค.  4
       ง.  5

      8. "6 – 1"  เท่ากับเท่าใด ก.  V ข.  I
       ค.  IV
       ง.  II 

      9. III II  เท่ากับเท่าใด ก.  4 ข.  5
       ค.  6
       ง.  7 

      10. ข้อใดถูกต้อง
       
      ก.  1 + 2 = I
       
      ข.  
      - 2 = II
       ค
      .  5 + 1 = V

       ง
      .  6  2 = IV 

      เฉลย 
      1.ก
      2.ข
      3.ค
      4.ค
      5.ข
      6.ก
      7.ค
      8.ก
      9.ค
      10.ข

ข้อสอบบทที่4

ข้อสอบบทที่4
1. 2*10
ก.20
ข.30
ค.40
ง.50
2. 3*10
ก.20
ข.30
ค.40
ง.50
3. 4*10
ก.20
ข.30
ค.40
ง.50
4. 5*10
ก.20
ข.30
ค.40
ง.50
5. 6*10
ก.20
ข.30
ค.60
ง.50
6. 7*10
ก.20
ข.70
ค.40
ง.50
7. 8*10
ก.80
ข.30
ค.40
ง.50
8. 9*10
ก.20
ข.30
ค.40
ง.90
9. 10*10
ก.20
ข.30
ค.100
ง.50
10. 0*10
ก.20
ข.30
ค.40
ง.0
เฉลย
1.ก
2.ข
3.ค
4.ง
5.ค
6.ข
7.ก
8.ง
9.ค
10.ง




























ข้อสอบบทที่3

ข้อสอบบทที่3
1.     0.57 + 0.30  =        
            ก.  0.82                                                ข.  0.83
            ค.  0.87                                                ง.  0.94
 2.     2.83 + 1.95 =  
            ก.  4.25                                                ข.  4.52
            ค.  4.78                                               ง.  4.87
 3.     10.59 + 7.35  = 
             ก.  17.94                                             ข. 17.55
             ค.  17.49                                             ง.  17.39
 4.      15.32 + 7.98  = 
            ก.  22.03                                              ข.  22.30
            ค.  23.30                                              ง.  23.03
 5.     13.97 + 54.83  =
            ก.  67.80                                              ข. 67.08
            ค.  68.08                                              ง.  68.80







 6.     46.31 + 6.31  =
            ก.  52.62                                              ข. 51.62
            ค.  49.62                                              ง.  48.62
 7.     94.94 + 42.17  =
            ก.  134.21                                            ข.  135.11
            ค.  136.21                                            ง.  137.11
 8.     298.76 + 143.49 =
            ก.  441.25                                            ข.  442.25
            ค.  443.25                                            ง.  444.25
 9.     372.85 + 290.46   =
            ก.  662.46                                            ข.  662.85
            ค.  663.13                                            ง.  663.31
10.    458.93 + 123.18  =
            ก.  581.11                                            ข. 582.11
            ค.  582.12                                            ง.  581.21

 เฉลย
1.ค
2.ค
3.ก
4.ค
5.ง
6.ก
7.ง
8.ข
9.ง
10.ก



























ข้อสอบบทที่2

ข้อสอบบทที่2
1. ข้อใดเป็นตัวประกอบทั้งหมดของ 20 
 ก . 1 , 2 , 4 ,  5  , 10 , 20  ข.  1 , 2 , 3 ,  5  , 10 , 15 , 20 ค.  1 , 4 , 5 , 10 , 20 ง.   1 , 2 , 5 , 10 , 15
2.  จำนวนใดต่อไปนี้เป็นจำนวนเฉพาะ 
 ก.  11  ข . 12 ค.  14 ง.  15
3. ข้อใดเป็นการแยกตัวประกอบของจำนวนนับ  84 
 ก .  84  =  2  x  3  x  4  x  7 ข.   84  = 2  x  2  x  3  x  7 ค.   84  = 2  x  2  x  2  x  7 ง.   84  = 2  x  2  x  4  x  7
4.  ตัวเลขที่แยกตัวประกอบ  3  x  3  x  3  x  7  เป็นค่าของจำนวนนับใด 
 ก.  159 ข.  149  ค.  169 ง.  189
5.  จงหา ห.ร.ม. ของ  42  และ 105 
 ก.  14 ข.  18 ค.  21 ง.  24
6.  จงหา ห.ร.ม. ของ  35 , 105 , 280  และ  385 

 ก.  32 ข.  35 ค.  44 ง.  52
7.  เชือกอยู่  3  เส้น ยาวเส้นละ 16 , 32  และ  72 เซนติเมตร ตามลำดับ ถ้าจะแบ่งเป็นท่อนสั้นๆให้เท่าๆกัน
     และยาวที่สุดเท่าที่จะยาวได้จะได้เชือกท่อนละกี่เซนติเมตร
 ก.  4   เซนติเมตร ข.  6   เซนติเมตร ค.  8   เซนติเมตร ง.  10  เซนติเมตร

8.  จงหา ค.ร.น. ของ  16 , 24  และ  32 
 ก. 16 ข. 32 ค. 48 ง. 96
9.  ข้อใดถูกต้อง 
 ก.  ค.ร.น.  11       และ  35  คือ  220  ข.  ค.ร.น.  56       และ  84  คือ  160  ค.  ค.ร.น.  8 , 30  และ  42  คือ  840 ง.  ค.ร.น.  36        และ  60  คือ  960
10. นักวิ่งมาราธอนสองคนวิ่งรอบสนามให้เวลา 60 และ 72 วินาที ตามลำดับ อยากทราบว่า อีกกี่นาที
นักวิ่งทั้งสองคน จะถึงจุดเริ่มต้นพร้อมกัน 
 ก.   6   นาที ข.   8   นาที ค.  10  นาที ง.   12  นาที
 


เฉลย
1. ข้อใดเป็นตัวประกอบทั้งหมดของ 20
ตอบ
ก.  1 , 2 ,4 , 5 , 10 , 20
วิธีคิด
 ตัวประกอบของ 20 คือ ตัวที่มาหารแล้วลงตัวก็จะมี 1 , 2 , 4 , 5 , 10 , 20
 

2. จำนวนใดต่อไปนี้เป็นจำนวนเฉพาะ
ตอบ
ก.  11
วิธีคิด
 11 เป็นจำนวนเฉพาะ เพราะมีตัวประกอบเพียง 2 ตัว คือ 1 , 11 เท่านั้น
 

3.ข้อใดเป็นการแยกตัวประกอบของจำนวนนับ 84
ตอบ
ข.  84 = 2 x 2 x 3 x 7
วิธีคิด
 วิธีการแยกตัวประกอบของ 84
จะได้

84 = 2 x 42 
84 = 2 x 2 x 21
84 = 2 x 2 x 3 x 7 
 
 
  

4. ตัวเลขที่แยกตัวประกอบ 3 x 3 x 3 x 7 เป็นค่าของจำนวนนับใด
ตอบ
ง.  189
วิธีคิด
 
วิธีการแยกตัวประกอบของ 189
จะได้
189 = 3 x 63
189 = 3 x 3 x 21
189 = 3 x 3 x 3 x 7 
 
 
  

5. จงหา ห.ร.ม. ของ 42 และ 105
ตอบ
ค.  21
วิธีคิด
 โดยอาศัยวิธีการแยกตัวประกอบ
  
  42 = 3 x 2 x 7
105 = 3 x 5 x 7
 
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 42 และ 105 คือ 3 x 7 = 21
  

6. จงหา ห.ร.ม. ของ 35 , 105 , 280 และ 385
ตอบ
ข.  35
วิธีคิด
 
วิธีการหา ห.ร.ม. โดยอาศัยวิธีการตั้งหาร
  
 
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 35 , 105 , 280 และ  385  คือ  5 x 7 = 35
  

7. เชือกอยู่ 3 เส้น ยาวเส้นละ 16 , 32 และ 72 เซนติเมตร ตามลำดับ ถ้าจะแบ่งเป็นท่อนสั้น ๆ
    ให้เท่ากันและยาวที่สุดเท่าที่จะยาวได้จะได้เชือกท่อนละกี่เซนติเมตร
ตอบ
ค.  8 เซนติเมตร
วิธีคิด
 
วิธีการหา ห.ร.ม. โดยวิธีการแยกตัวประกอบ
  
16 = 2 x 2 x 2 x 2
32 = 2 x 2 x 2 x 2 x 2
72 = 2 x 2 2 x 3 x 3
 ห.ร.ม. ของ 16 , 32 และ 72 คือ 2 x 2 x 2 = 8 
 
ดังนั้น จะได้เชือกยาวที่สุดเส้นละ 8 เซนติเมตร
  

8. จงหา ค.ร.น. ของ 16 , 24 และ 32
ตอบ
ง.  96
วิธีคิด
 วิธีการหาร ค.ร.น. โดยอาศัยวิธีการตั้งหาร
  
 ดังนั้น ตัวคูณร่วมน้อยที่น้อยที่สุดของ 16 , 24 และ 32 คือ 2 x 2 x 2 x 2 x 1 x 3 x 2 = 96
  

9. ข้อใดถูกต้อง 
ตอบ
ค.  ค.ร.น ของ 8 , 30  และ  42  คือ  840
วิธีคิด
 วิธีการหา ค.ร.น. โดยอาศัยวิธีการตั้งหาร
  
 
ดังนั้น ตัวคูณร่วมน้อยที่น้อยที่สุดของ 8 , 30 และ 42 คือ 2 x 3 x 4 x 5 x 7 = 840
  

10. นักวิ่งมาราธอนสองคนวิ่งรอบสนามให้เวลา 60 และ 72 วินาที ตามลำดับ อยากทราบว่า อีกกี่นาที
ี      นักวิ่งทั้งสองคน จะถึงจุดเริ่มต้นพร้อมกัน
ตอบ
ก.  6 นาที
วิธีคิด
 วิธีการหา ค.ร.น. โดยอาศัยวิธีการแยกตัวประกอบ
  
60 = 2 2 x 3 x 5
72 = 2 x 2 x 3 x 2 x 3
  ตัวคูณร่วมน้อยที่น้อยที่สุดของ 60 และ 72 คือ 2 x 2 x 3 x 5 x 2 x = 360
  ดังนั้น  นักกีฬาต้องใช้เวลา 360 วินาที หรือ 6 นาที จึงจะวิ่งถึงจุดเริ่มต้นพร้อมกัน
   











ข้อสอบบทที1

ข้อสอบบทที่1
  • 1. 
    25+(-5)    มีค่าเท่ากับข้อใด
    • A. 
      30
    • B. 
      -20
    • C. 
      -30
    • D. 
      20
  • 2. 
    (-35) + (-28)   มีค่าเท่ากับข้อใด
    • A. 
      -7
    • B. 
      7
    • C. 
      -63
    • D. 
      63
  • 3. 
    (-100) +25 + (-20)   มีค่าเท่ากับข้อใด
    • A. 
      -95
    • B. 
      -145
    • C. 
      -120
    • D. 
      95
  • 4. 
    -20-25-32  มีค่าเท่ากับข้อใด
    • A. 
      77
    • B. 
      -37
    • C. 
      -45
    • D. 
      -77
  • 5. 
    -30+14-50   มีค่าเท่ากับข้อใด
    • A. 
      -66
    • B. 
      -94
    • C. 
      66
    • D. 
      94
  • 6. 
    (45-50)+(-5)-10  มีค่าเท่ากับข้อใด
    • A. 
      -30
    • B. 
      30
    • C. 
      20
    • D. 
      -20
  • 7. 
    90-100  มีค่าเท่ากับข้อใด
    • A. 
      -10
    • B. 
      10
    • C. 
      25
    • D. 
      ถูกทุกข้อ
  • 8. 
    100-200+30-40   มีค่าเท่ากับข้อใด
    • A. 
      -110
    • B. 
      100
    • C. 
      -200
    • D. 
      -370
  • 9. 
    500+500  มีค่าเท่ากับข้อใด
    • A. 
      100
    • B. 
      0
    • C. 
      1000
    • D. 
      10000
  • 10. 
    -200-30-50+27   มีค่าเท่ากับข้อใด
    • A. 
      -253
    • B. 
      -307
    • C. 
      307
    • D. 
      253

                                                                         เฉลย
      1.ตอบD.20 เพราะ25+(-5)เท่ากับ25-5=20
      2.ตอบC.-63 เพราะ(-35)+(-28)=-35+-28=-63
      3.ตอบA.-95 เพราะ -100+25-20=-120+25=-95
      4.ตอบD.-77 เพราะ-20-25-32 =-77
      5.ตอบA.-66เพราะ  -30+14-50=-66
      6.ตอบD.-20 เพราะ (45-50)+(-5)-10=-5+-5-10=-20
      7.ตอบA.-10 เพราะ 90-100=-10
      8.ตอบA.-110 เพราะ100-200+30-40=-110
      9.ตอบC.1000 เพราะ500+500=1000
      10.ตอบA.-253เพราะ-200-30-50+27=-253